็HRD-MAX MAXIMIZE YOUR POTENTIAL เรามุ่งมั่นยกระดับศักยภาพของท่าน
"การวิเคราะห์อัตรากำลัง(Workload Analysis)"
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์อัตรากำลัง
2. เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมได้ฝึกปฏิบัติการวางวิเคราะห์อัตรากำลังของหน่วยงานตนเอง
หัวข้อการฝึกอบรม
1.แนวคิดการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
ความหมายและความสำคัญของการวิเคราะห์อัตรากำลัง(Workload Analysis)
วิธีการการวิเคราะห์อัตรากำลังรูปแบบต่างๆ
2.การวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยการศึกษางาน(Work Study)
ความหมายของการวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยการศึกษางาน(Work Study)
ลักษณะของการวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยการศึกษางาน(Work Study)
คำศัพท์สำคัญของการวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยการศึกษางาน(Work Study)
ขั้นตอนการวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยการศึกษางาน(Work Study)
3.กระบวนการวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยการศึกษางาน(Work Study)
ขั้นที่ 1.การวิเคราะห์งานย่อย
ขั้นที่ 2.การระบุตำแหน่งผู้ปฏิบัติงาน
ขั้นที่ 3.การระบุ Flow Diagram
ขั้นที่ 4.การวัดงานเพื่อกำหนดเวลาปกติ (Normal Time)
ขั้นที่ 5.การคำนวณเวลาเผื่อ (Allowance)
ขั้นที่ 6.การระบุเวลามาตรฐาน (Standard Time)
ขั้นที่ 7.การนำเวลามาตรฐานมาคำนวณจำนวนอัตรากำลังแต่ละตำแหน่ง
ขั้นที่ 8.การสรุปจำนวนอัตรากำลังที่เหมาะสมกับภาระงานในแต่ละหน่วยงาน
วิธีการฝึกอบรม
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้เทคนิคการฝึกอบรม ประกอบด้วย การบรรยาย 30% และการฝึกปฏิบัติ 70%
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผู้บริหาร และหัวหน้างานตามที่องค์กรกำหนด
ระยะเวลาการฝึกอบรม
ระยะเวลา 1 วัน จำนวน 6 ชั่วโมง
วิทยากร
ดร.อำนาจ วัดจินดา กรรมการผู้จัดการบริษัท HRD MAX จำกัด
“เทคนิคการจัดทำตารางทักษะในการปฏิบัติงาน(Skill Matrix)”
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและเทคนิคการจัดทำตารางทักษะในการปฏิบัติงาน(Skill Matrix)
2.เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมได้ฝึกปฏิบัติจัดทำตารางทักษะในการปฏิบัติงาน(Skill Matrix)เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้สู่การปฏิบัติจริง
หัวข้อการฝึกอบรม
ความหมายของทักษะในการปฏิบัติงาน(Skill)
ความสำคัญของทักษะในการปฏิบัติงาน(Skill)
ประเภทของทักษะในการปฏิบัติงาน(Skill)
ขั้นตอนการจัดทำตารางทักษะในการปฏิบัติงาน (Skill Matrix)
การทบทวนงานหลักของหน่วยงานและตำแหน่ง(Key Job)
การกำหนดทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน
การจัดทำมาตรฐานรายข้อทักษะ
การจัดทำตารางทักษะและความคาดหวัง
5. การประเมินทักษะในการปฏิบัติงาน
6. การพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงาน
วิธีการฝึกอบรม
เป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใช้การบรรยาย(Lecture)การระดมสมอง(Brainstorming)การประชุมเชิงปฏิบัติการ(Workshop)
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผู้บริหารและหัวหน้างาน ตามที่องค์กรกำหนด
ระยะเวลาการฝึกอบรม
ระยะเวลา 1 วัน จำนวน 6 ชั่วโมง
วิทยากร
ดร.อำนาจ วัดจินดา กรรมการผู้จัดการบริษัท HRD MAX จำกัด
“การขับเคลื่อนองค์กรสู่ความสำเร็จด้วยOKRs:Objective and Key Results
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิด วิธีการ และเทคนิคในการดำเนินการใช้ระบบ OKRs ในองค์กร
2. เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมได้ฝึกปฏิบัติกำหนด OKRs ระดับองค์กร และถ่ายทอดไปยังระดับหน่วยงาน และบุคคล เพื่อสารมารถนำไปใช้ได้องค์กรได้จริง
หัวข้อการฝึกอบรม
1.ทำความรู้จักกับ OKRs
ประวัติความเป็นมาของ OKRs
ความหมายของ ความสำคัญ และประโยชน์ของ OKRs
องค์ประกอบสำคัญของ OKRs
2. หลักการ วิธีการ และเทคนิคในกำหนด OKRs
หลักการและวิธีการการกำหนด Objective
หลักการและวิธีการกำหนด Key Results
เทคนิคการกำหนด OKRs ที่ดี และมีประสิทธิผล
3. การกำหนด OKRs ระดับองค์กร (Organization)
การแปลงกลยุทธ์ / นโยบายขององค์กรเป็น Objective
การกำหนด Key Results ของ Objective
การกำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบ Key Results ขององค์กร
4. การกำหนด OKRs ระดับหน่วยงาน (Functional)
การกำหนด Objective ของหน่วยงานให้สอดคล้องกับ OKRs ขององค์กร
การกำหนด Key Results ของ Objective
การกำหนดบุคคลที่รับผิดชอบ Key Results ของหน่วยงาน
5. การกำหนด OKRs ระดับบุคคล (Personal)
การกำหนด Objective ของบุคคลให้สอดคล้องกับOKRs ของหน่วยงาน
การกำหนด Key Results ของ Objective
การกำหนด To-do-list และแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
6. การประเมินผลการปฏิบัติงานด้วย OKRs
การประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กรด้วย OKRs
การประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานด้วย OKRs
การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานรายบุคคลด้วย OKRs
7. วงจรการขับเคลื่อน OKRs ในองค์กร (OKRs Cycle)
การกำหนดและถ่ายทอด OKRs
การติดตามผลการปฏิบัติงานตาม OKRs
การประเมินผลการปฏิบัติงานตาม OKRs
การถอดบทเรียนการปฏิบัติงานตาม OKRs
วิธีการฝึกอบรม
ใช้การเรียนรู้แบบผสมผสานได้แก่การบรรยาย(Lecture)การระดมสมอง(Brainstorming)การฝึกปฏิบัติ(Practicing) และประชุมเชิงปฏิบัติการ(Workshop)
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหาร หัวหน้างาน ตามที่องค์กรกำหนด
ระยะเวลาการฝึกอบรม
ระยะเวลา 2 วัน รวม 12 ชั่วโมง ช่วงเวลา 09.00-16.00 น.
วิทยากร
ดร.อำนาจ วัดจินดา กรรมการผู้จัดการบริษัท HRD MAX จำกัด และทีมงาน
“สุดยอดหัวหน้างานยุคใหม่(Super Supervisor) "
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและเทคนิคการเป็นหัวหน้างานที่ดี
เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมได้ฝึกปฏิบัติเพิ่มให้เกิดทักษะในการเป็นหัวหน้างานที่ดี
เพื่อให้ผู้รับเกิดฝึกอบรมมีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การเป็นหัวหน้างานระหว่างกัน
หัวข้อการฝึกอบรม
1.วิธีคิดสำหรับหัวหน้างานยุคใหม่(Supervisor Mindset)
การคิดเชิงเติบโต(Growth Mindset)
การคิดแบบก้าวหน้า(Promotion Mindset)
การคิดจากภาพนอก(Outward Mindset)
2.การสื่อสารอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ(Effective Communication)
บุคลิกภาพของผู้นำที่ใช้ในการสื่อสาร
ปรับพื้นฐานการสื่อสารด้วยหลัก 3V(Verbal Vocal Visual)
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจด้วย 5 ดี ( รู้ใจดี เนื้อหาดี ชัดเจนดี ช่องทางดี ยอมรับดี)
3.การสั่งงานและมอบหมายงานที่ดี
ความหมายและความสำคัญของการมอบหมายงาน
การประเมินประเมินของลูกน้อง4แบบ(Deadwood, Workhorse, Problem child, Star)
ขั้นตอนการสั่งงานและมอบหมายงานที่มีประสิทธิภาพ
การเตรียมความพร้อม
การมอบหมาย
การติดตามผล
การประเมินผล
การยกย่องชื่นชม
4. การสอนงานอย่างมีประสิทธิผล
ความและความสำคัญของการมอบหมายงาน
ขั้นตอนการสอนงานอย่างมีประสิทธิผล
การเตรียมความพร้อม
การสอนและสาธิต
การให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การประเมินผลและติดตามผล
วิธีการฝึกอบรม
เป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการระยะเวลา1วัน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้เทคนิคการฝึกอบรมแบบผสมผสานเช่น การบรรยาย การใช้กรณีศึกษา การระดมสมอง การใช้เกมเพื่อการเรียนรู้ การแสดงบทบาทสมติ และการประชุมเชิงปฏิบัติ
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผู้บริหารและหัวหน้างาน
ระยะเวลาการฝึกอบรม
ระยะเวลา 1 วัน จำนวน 6 ชั่วโมง
วิทยากร
ดร.อำนาจ วัดจินดา กรรมการผู้จัดการบริษัทHRD MAX จำกัด
“ การพัฒนาวิทยากรฝึกอบรม(Train the Trainer)”
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ด้านการสอนและฝึกอบรมผู้ใหญ่ในวัยทำงานซึ่งเป็นผู้เรียนที่อยู่ในองค์กร
เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมมีทักษะความสามารถ และความมั่นใจในการเป็นวิทยากร
เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมได้รู้ถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเองในด้านการเป็นวิทยากรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นวิทยากรมืออาชีพต่อไป
หัวข้อการฝึกอบรม
1. จิตวิทยาการเรียนรู้สำหรับวิทยากรมืออาชีพ
การเรียนรู้คืออะไร(Learning)
ประเภทของการเรียนรู้(Learning Domains)
การเรียนรู้ของผู้ใหญ่มีลักษณะอย่างไร(Adult learning)
สมรรถนะที่จำเป็นของวิทยากร(Trainer Competencies)
2. การพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการเป็นวิทยากร
การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาพูด
ได้แก่ การเลือกใช้คำพูด การใช้เสียง และอื่นๆ
การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษากาย
ได้แก่ การใช้สายตา สีหน้า ท่าทาง การยืน การเดิน และอื่นๆ
การพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับวิทยากร
ได้แก่ การสร้างความมั่นใจ มารยาทที่ดีสำหรับวิทยากร และเทคนิควิธีการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน
การบริหารและการสร้างบรรยากาศการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ได้แก่ การวิเคราะห์และประเมินผู้เรียน การจูงใจผู้เรียน
3. ความเข้าใจและการเลือกใช้เทคนิคการฝึกอบรม(Training Techniques)
เทคนิคประเภทผู้สอนเป็นศูนย์กลาง ได้แก่ การบรรยาย(Lecture)
เทคนิคประเภทผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้แก่การระดมสมอง(Brainstorming)
อภิปราย(Discussion) การประชุมเชิงปฏิบัติการ(Workshop)
4. การเตรียมพร้อมสำหรับการเป็นวิทยากรมืออาชีพ
การออกแบบการสอน (Instructional Design)
การเลือกใช้สื่อประกอบการสอน (Training Media)
การพัฒนาแผนการสอน(Lesson Plan)
5. ฝึกปฏิบัติการสอนรายบุคคล
ฝึกปฏิบัติสอนจริงรายบุคคลภายในเวลาที่กำหนด
ฝึกปฏิบัติประเมินการสอนของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
วิทยากรให้คำแนะนำจุดแข็งและจุดอ่อนในการสอนรายบุคคล
วิธีการฝึกอบรม
ใช้เทคนิคการฝึกอบรมเชิงบูรณาการ ได้แก่ การบรรยาย (Lecture) การสาธิต
(Demonstration) การฝึกปฏิบัติ (Practicing) การระดมสมอง (Brain storming) และอื่นๆ
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
จำนวนไม่เกิน 15 ท่าน
ระยะเวลาในการฝึกอบรม
ใช้ระยะเวลา 2 วัน ระหว่างเวลา 09.00 -16.30 น. รวม 12 ชั่วโมง
วิทยากร
ดร. อำนาจ วัดจินดา กรรมการผู้จัดการบริษัท HRD MAX จำกัด